ศาลเจ้าพ่อเสือ วันนี้จะพามาทำความรู้จัก ศาลเจ้าจีนเก่าแก่ ซึ่งตั้งอยู่บนถนนตะนาว ใกล้เสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ศาลเจ้าพ่อเสือ ศาลเจ้าพ่อเสือ(เสาชิงช้า), ศาลเจ้าพ่อเสือพระนคร หรือที่เรียกสั้นๆว่า ศาลเจ้าพ่อเสือ เป็นศาลเจ้าจีนเก่าแก่ซึ่ง ตั้งอยู่บนถนนตะนาวใกล้เสาชิงช้า เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เทพเจ้าตั่วเหล่าเอี้ย ชาวจีนเรียกศาลเจ้านี้ว่า “ตั่วเหล่าเอี้ย” (เทพเจ้าใหญ่) โดยเป็นที่ประดิษฐานรูป เอี่ยนเถี้ยนส่งเต้, รูปเจ้าพ่อเสือ, รูปเจ้าพ่อกวนอู
และรูปเจ้าแม่ทับทิม คนปีเสือต้องไปไหว้เจ้าพ่อเสือเพื่อเสริมมงคล ว่ากันว่าศาลเจ้าพ่อเสือตั้งขึ้นใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) เดิมตั้งอยู่ริมถนนบำรุงเมืองต่อมาเมื่อ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) โปรดให้ขยายถนนบำรุงเมือง ได้โปรดให้ย้ายศาลมาไว้ที่ ทางสามแพร่งถนนตะนาว จนถึงปัจจุบัน อนิเมะ
มาดูถึงประวัติของ ศาลเจ้าพ่อเสือ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง? ไปดูพร้อมๆกันเลย
ศาลเจ้าพ่อเสือ เกิดจากคนไทยเห็นชาวแต้จิ๋วไหว้ เทพเจ้าตั่วเหล่าเอี้ย เชื่อว่าช่วยเสริมดวงชะตา ทำมาค้าขึ้น ช่วยปัดเป่าอุปสรรค จึงนิยมกราบไหว้และสร้างขึ้นบริเวณเสาชิงช้า อัญเชิญ ตั่วเหล้าเอี้ย, รูปปั้นเจ้าพ่อเสือ, เจ้าพ่อกวนอู และเจ้าแม่ทับทิม ประดิษฐานไว้ให้ผู้คนมาสักการะ บางคนเรียกองค์เทพตั่วเหล่าเอี้ย ว่า “องค์เจ้าพ่อใหญ่”
บ้างเรียกรวมกับองค์รูปปั้นเสือ ว่าเจ้าพ่อเสือด้วยอยู่ในศาลซึ่งเดิม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ โปรดเกล้าฯ ให้กรมหมื่นอุดมรัตนราษี (พระราชโอรสในสมเด็จพระนั่งเกล้าฯ) ให้ก่อสร้างบนถนนบำรุงเมือง ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงโปรดฯ ให้ขยายถนนบำรุงเมือง จึงย้ายศาลมาไว้ที่บริเวณสามแพร่ง ถ.ตะนาว ที่ตั้งของศาลเจ้าพ่อเสือในปัจจุบัน
โดยอาคารก่อสร้างตามรูปแบบ ศาลเจ้าที่นิยมในภาคใต้ของจีน ตั่วเหล่าเอี้ย คนปีเสือต้องไปไหว้เจ้าพ่อเสือเพื่อเสริมมงคล เลื่องชื่อเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ อธิษฐาน ขอพรสิ่งใดได้สมประสงค์ บ้างมาขอพรเรื่องค้าขาย เรื่องขจัดอุปสรรค เสริมอำนาจบารมี ขอโชคลาภ ขอพรให้มีลูก ฯลฯ คนมาไหว้ ตั่วเหล่าเอี้ยและ เจ้าพ่อเสือ (ด้านซ้าย) ทุกปี
ตามความเชื่อของ คนไทยเชื้อสายจีนคือ คนปีเสือต้องไปไหว้เจ้าพ่อเสือ เพื่อเสริมดวง เสริมมงคล คนปีวอกไปไหว้แก้ชง แต่เอาเข้าจริงคนเกิดทุกปีนักษัตร นิยมไปไหว้ เจ้าพ่อเสือทุกปีและไปช่วงหลังวัน ตรุษจีน ไปแล้ว 15 วัน เทพเจ้าตั่วเหล่าเอี้ย ชาวจีนนิยมกราบไหว้เชื่อว่า มีพลังในการปกปักอภิบาล และปราบศัตรู ขจัดสิ่งเลวร้าย
ตำนานที่มาของท่าน มีหลายข้อมูลเช่น เดิมมีชื่อว่า เสวียนอู่ เป็นเจ้าชายเมืองจิงหลี่ ทางตอนเหนือของเหอเป่ย สมัยจักรพรรดิเหลือง เมื่อเติบโตขึ้นพบเห็นความทุกข์ยาก ของราษฎรจึงคิดอยากไปบำเพ็ญเพียร ปฏิบัติธรรม บางตำนานบอกว่าท่าน เป็นนักพรตบำเบ็ญเพียร บนเขาบู๊ตงซาน (บู้ตึ้ง) จนสำเร็จเป็นเซียน บางตำราบอกว่า ท่านเป็นภาคหนึ่งของไท่ซ่งเหลากุ้น
เป็นตัวแทนดาวเหนือ เต่าและงูที่ท่านเหยียบนั้น เดิมเป็นปีศาจทำร้ายมนุษย์ และท่านได้ปราบสัตว์ทั้งสอง จนนำมาเป็นบริวาณของท่านเอง อีกตำนานหนึ่งเล่าว่า ชายหนุ่มจากเมืองลกฮง ประเทศจีน มีอาชีพฆ่าหมูและวัวขาย วันหนึ่งกลับใจหันมา ปฏิบัติธรรมตามลัทธิเต๋า โดยยินดีสละชีวิตตนเอง คว้านท้องเอากระเพาะ และลำไส้ออกมา เพราะต้องการเอาชีวิตตน แลกธรรมเพื่อทดแทนบาปเคราะห์
ผลบุญนั้นส่งให้ เง็กเซียนฮ่องเต้ ประมุขแห่งสวรรค์ ประทานยศให้เป็น “ผู้ตรวจภพทิศเหนือ” บ้างเขียนฉายาท่านว่า “เทพแห่งนักรบ” หรือ 真武 (เจินอู่) หรือชื่อในภาษาแต้จิ๋วว่า “เหี่ยงเทียงเสี่ยงตี่” มีธงดำเป็นอาญาสิทธิ์ ปราบปีศาจร้าย เท้าข้างหนึ่งเหยียบงู อีกข้างเหยียบเต่า มีเสือเป็นพาหนะ คนปีเสือต้องไปไหว้เจ้าพ่อเสือเพื่อเสริมมงคล บางคนจึงเรียกท่านว่า “เจ้าพ่อเสือ” พระธาตุดอยตุง
ตำนานเทพเจ้าเสือศาลเจ้าพ่อเสือ หรือ Lord Tiger
ชาวจีนเชื่อว่า เป็นเทพแห่งการปกป้อง มักพบเห็นในวัดของลัทธิเต๋า บางคนบอกว่ามีฐานะเป็นเทพเจ้าชั้นรอง แต่คนนิยมกราบไหว้ เพื่อสร้างความสามัคคี บ้างเชื่อว่าบูชาไว้ เพื่อขับไล่สิ่งชั่วร้าย ศัตรู หรือเมื่อมีเหตุต้องขึ้นโรงขึ้นศาล คนปีเสือต้องไปไหว้เจ้าพ่อเสือเพื่อเสริมมงคล ก็จะมาขอพรให้ได้ชัยชนะ ชาวจีนตอนใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ให้ความเคารพรูปปั้นเสือ
เชื่อว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ เสือเป็น 1 ใน 4 สัตว์ที่ฉลาดที่สุด (มังกร นกฟีนิกซ์ เสือ เต่า) มีตำนานเล่าถึง เสือขาว ว่าเป็นผู้ปกครองแดนตะวันตก สัมพันธ์กับฤดูใบไม้ร่วง เสือยังสื่อถึงพลังของเพศผู้ และเป็น “ราชาแห่งสัตว์ทั้งปวง” โดยนิยมวาดสัญลักษณ์เสือมี 4 ขีดบนหน้าผาก มาจากคำว่า “หวัง” (王) หมายถึง King ตามวัด และศาลเจ้านิยมวาดรูปเสือ หรือวางรูปปั้นเสือ
เชื่อว่าช่วยป้องกันภัย บางท้องถิ่นในจีนเชื่อว่าเสือเป็น God of Wealth เทพเจ้าตั่วเหล่าเอี้ย ในตำนานเสือเล่าอีกว่า เมื่อเสือขาวตายวิญญาณจะกลายเป็นดิน และเกิดเป็น “อำพัน” ความเชื่อนี้ทำให้คนจีน คิดว่าในอำพัน (Amber) มีวิญญาณของเสือ สิงสถิตอยู่ยังมีบทกลอน กล่าวว่าเมื่อเสือคำราม และมังกรร้องเพลง โลกจะมีแต่สันติสุข ประชาชนมั่งคั่ง และประเทศแข็งแกร่ง
ตำนานเรื่องเทพเจ้าเสือของจีน ผสมผสานเข้ากับตำนานของไทย
เรื่องเล่าว่า นายสอนเข้าป่าไปพบซากกวาง แล้วเฉือนเนื้อกวางมาให้แม่ คือยายผ่องกิน ซึ่งซากกวางนั้นเกิดจากเสือกัดตาย เมื่อเสือเห็นนายสอน จึงเข้าไปขย้ำกัดแขน นายสอนขาดแต่นายสอน หนีกลับบ้านได้แล้วเล่าให้ยายผ่องฟัง ไม่นานก็ขาดใจตาย คนปีเสือต้องไปไหว้เจ้าพ่อเสือเพื่อเสริมมงคล ยายผ่องจึงร่วมกับชาวบ้าน ช่วยกันจับเสือ เมื่อจับได้กะฆ่าเสือให้ตาย
แต่ยายผ่องเกิดสงสาร จึงนำเสือตัวนั้นมาเลี้ยงไว้ จนยายผ่องตายไปเสือก็ เดินวนเวียนอยู่รอบกองไฟ ที่กำลังเผายายผ่อง จากนั้นมันก็กระโดดเข้ากองไฟ ตายตามชาวบ้านจึงร่วมกัน สร้างศาลขึ้นมาอยู่ข้างวัดมหรรณพ โดยปั้นรูปเสือไว้พร้อมนำ เถ้ากระดูกมาวางไว้ใต้แท่น และทำพิธีเชิญดวงวิญญาณเสือ มาสิงสถิตไว้ เพื่อปกป้องคุ้มครอง
ตำนานของคนไทยเรื่องเสือและวัด ผนวกเข้ากับความเชื่อของชาวจีน เป็นที่มาของ ศาลเจ้าพ่อเสือ และ เทพเจ้าตั่วเหล่าเอี้ย ที่ทั้งคนไทยและคนจีนเคารพ สักการะมาเนิ่นนาน นอกจากกราบไหว้เจ้าพ่อเสือ ในเมืองไทยแล้ว ยังนิยมไปกราบไหว้ ตั่วเหล่าเอี้ย ที่ซัวเถา และในบางจังหวัดในประเทศจีน
ไต้หวันก็มี องค์ตั่วเหล่าเอี้ย
ไต้หวันก็มีองค์ เทพเจ้าตั่วเหล่าเอี้ย องค์ใหญ่ที่สุดประดิษฐาน ณ ศาลเจ้าพ่อเสือเกาสง (Beiji Xuantian Shangdi) หรือวัดใหญ่สั่วหยิง เกาะไต้หวัน และมีเจ้าพ่อเสือ (รูปปั้นเสือ) ในไทเปมีหลายแห่ง เช่น Canton Palace, Chenghuang Temple, Tianhou Temple วิธีไหว้คล้ายคนไทยคือ ถวายหมู แกะ เนื้อ ไข่ ปลาหมึก ไวน์ ผลไม้เช่น แอปเปิ้ลและลูกแพ
ในประเทศจีนเรียกว่า เจินอู่ (เสวียนอู่) อยู่ในวัดลัทธิเต๋า เช่น ที่หยางโจวและหูเป่ย ซึ่งทุกวันนี้ชาวจีนก็ยังมา กราบไหว้ขอพร “เทพแห่งการปกปักรักษา” เชื่อว่ามีความศักดิ์สิทธิ์ คุ้มภัยอันตราย เสริมความมั่งคั่ง คนปีเสือต้องไปไหว้เจ้าพ่อเสือเพื่อเสริมมงคล และขอพรสิ่งใดก็สมปรารถนา