วัดพระธาตุลำปางหลวง พระธาตุประจำปีเกิดของ คนปีฉลู เป็นวัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางมาแต่โบราณ

วัดพระธาตุลำปางหลวง วันนี้จะพามารู้จักกับ วัดไม้ที่สมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของไทย งดงามด้วยสถาปัตยกรรมเก่าแก่มากมาย

วัดพระธาตุลำปางหลวง ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบล ลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง อยู่ห่างจากตัวเมืองลำปางไปทาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 18 กิโลเมตร วัดตั้งอยู่บนเนินสูง มีการจัดวางผังและส่วนประกอบ ของวัดสมบูรณ์แบบที่สุด มีสิ่งก่อสร้างและสถาปัตยกรรมต่างๆ

บริเวณพุทธาวาสประกอบด้วย องค์พระธาตุลำปางหลวง พระธาตุประจำปีนักษัตรฉลู เป็นประธานมีบันไดนาคนำขึ้นไป สู่ซุ้มประตูโขง ถัดซุ้มประตูโขงขึ้นไปเป็น วิหารหลวง บริเวณทิศเหนือขององค์พระธาตุ มีวิหารบริวารตั้งอยู่คือ วิหารน้ำแต้ม และวิหารต้นแก้ว ด้านตะวันตกขององค์พระธาตุ 

ประกอบด้วยวิหารละโว้ และหอพระพุทธบาท ด้านใต้มีวิหารพระพุทธ และอุโบสถ ทั้งหมดนี้จะแวดล้อมด้วยแนวกำแพง แก้วทั้งสี่ด้านนอกกำแพงแก้ว วัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางสวยงามด้วยสถาปัตยกรรม ด้านใต้มีประตูที่จะนำไปสู่เขตสังฆาวาส ซึ่งประกอบด้วยอาคาร หอพระไตรปิฎก กุฏิประดิษฐาน พระแก้วดอนเต้า อาคารพิพิธภัณฑ์และกุฏิสงฆ์ เว็บดูบอลสดฟรี

วัดพระธาตุลำปางหลวง

มาดูถึงประวัติของ วัดพระธาตุลำปางหลวง ว่ามีความเป็นมาอย่างไร? ไปดูพร้อมกันเลย

ตามตำนานพระเจ้าเลียบโลก และตำนานพระธาตุลำปางหลวง พระธาตุประจำปีนักษัตรฉลู กล่าวว่าในสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าพร้อมด้วยพระโสณเถร พระอุตตเถร พระรตนเถร และพระอานนท์ ได้เสด็จจาริกไปตามบ้านเมืองต่างๆ จนถึงบ้านลัมพการีวัน พระพุทธเจ้าได้ประทับเหนือดอยม่อนน้อย

มีชาวลวะ (ชาวลัวะ) คนหนึ่งชื่ออ้ายคอน เกิดความเลื่อมใสได้นำ น้ำผึ้งบรรจุกระบอกไม้พาง (ไม้ป้างคือไผ่ข้าวหลาม) กับมะพร้าว 4 ลูกมาถวายพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ ได้ฉันน้ำผึ้งแล้วทิ้งกระบอกไม้พาง ไปทางทิศเหนือแล้วทรงพยากรณ์ว่า สถานที่แห่งนี้ต่อไปจะมีชื่อว่า ลัมพาง(ลำปาง)

ทรงลูบพระเศียรได้พระเกศา มาหนึ่งเส้นมอบให้แก่ลวะอ้ายคอน บรรจุในกระบอกทองคำ ใส่ในอูปทองคำใหญ่ 8กำมือ พระอินทร์ให้พระวิสุกัมม์ เนรมิตอุโมงค์ใหญ่ 50วา ลาดด้วยแผ่นแก้ววิธูรสูง 7ศอก กว้าง 3ศอก แล้วเชิญอูปทองคำประดิษฐาน พระเกศาธาตุในถ้ำนั้น ลวะอ้ายคอนกับคนทั้งหลาย

ใส่ข้าวของบูชา พระอินทร์ใส่ยนตร์ผัดแล้วถมอุโมงค์ วัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางสวยงามด้วยสถาปัตยกรรม แล้วก่อเป็นพระเจดีย์สูง 7ศอกเหนืออุโมงค์นั้น พระพุทธเจ้าตรัสว่า เมื่อพระองค์ปรินิพพานไปได้ 218 ปี จะมีพระอรหันต์ 2รูป ชื่อกุมารกัสสปะกับเมฆิยเถร นำพระธาตุส่วนหน้าผาก และลำคอมาบรรจุไว้ เจดีย์องค์นี้จะได้ชื่อ ลัมพางกัปปะ

ภายหลังจากพระพุทเจ้า ปรินิพพานแล้ว พระกุมารกัสสปะ ได้นำพระธาตุส่วน พระนาลาฏ (หน้าผาก) มาบรรจุไว้ถัดมาพระเมฆิยเถร ได้นำพระธาตุส่วนพระศอ (ลำคอ) มาบรรจุไว้พระญาสรีธัมมาโสกราช ก็ได้นำพระธาตุมาบรรจุอีก รวมทั้งหมดทั้งหมด 3 องค์ด้วยกัน พระอรหันต์และเทวดาทั้งหลาย

ได้สั่งให้เทวดาชื่ออุตตระ ให้อยู่รักษาพระธาตุในเมืองลัมภกัปปนครนี้ ต่อมาพระญาจันทเทวราช กษัตริย์เมืองสุวรรณภูมิ มีความปรารถนาอยากจะได้พระธาตุ จึงยกกองทัพมาเชิญ พระธาตุไปยังเมืองของตน แต่พระธาตุทำปาฏิหาริย์กลับมายังที่เดิม พระญาจันทเทวราชทรงมี พระราชศรัทธาจึงให้ขุดหลุมลึก 20วา

ก่อด้วยอิฐเงินอิฐทองคำสูง 40ศอก แล้วสร้างรูปราชสีห์ทองคำ 1ตัว สร้างอูปทองคำกับอูปแก้ว ครอบอูปบรรจุพระธาตุเดิม เชิญอูปบรรจุพระธาตุทั้งหมด ไว้บนหลังรูปราชสีห์ทองคำ นำรูปราชสีห์ทองคำนั้นลงหลุม ก่อเจดีย์ครอบไว้ พร้อมด้วยเครื่องบูชาสักการะ จำนวนมากสร้างยนต์รักษาพระธาตุ หุ้มด้วยแผ่นเงิน

แล้วถมพื้นให้ปกติ พระญาจันทเทวราช ปรารถนาจะตัดต้นไม้ขะจาว ที่อยู่ใกล้สถานที่บรรจุพระธาตุ รุกขเทวดาที่รักษาพระธาตุ เนรมิตเป็นชายแก่ออกมาห้ามไว้ พระญาจันทเทวราช นำทองคำที่เหลือจากกา รบรรจุประมาณ 2 โกฏิไปบรรจุที่ดอยพี่น้อง เหนือเมืองเตริน (เถิน)

แล้วอธิษฐานว่ากษัตริย์องค์ใด มีบุญสมภารเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา จงนำทองคำนี้ไปบูรณะสร้างพระธาตุ ในเมืองลัมภกัปปนคร วัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางสวยงามด้วยสถาปัตยกรรม แล้วกลับเมืองของตน

วัดพระธาตุลำปางหลวง

ในพ.ศ.1956วัดพระธาตุลำปางหลวง ยุคมหาราชเทวีเมืองเชียงใหม่

พ.ศ.1956 มหาราชเทวีเมืองเชียงใหม่ เสด็จไปทัพยังแม่สลิด เมื่อเสร็จแล้วจึงมาอยู่ที่สบยาว ยามค่ำออกว่าราชการกับ เสนาอำมาตย์ พระธาตุพระพุทธเจ้าแสดงปาฏิหาริย์ มหาราชเทวีว่าชาวเมือง ไม่ยำเกรงตนเจาะไฟโตรด มารบกวนล่ามพันทองกราบทูลว่า ไม่ใช่ไฟโตรดแต่เป็นพระธาตุ

ในเมืองลัมภปัปนครแสดงปาฏิหาริย์ วันถัดมามหาราชเทวีจึงเสด็จ ไปไหว้นมัสการบูชาพระธาตุ พระธาตุประจำปีนักษัตรฉลู แล้วถามชาวเมืองว่าต้องการอะไรหรือไม่ ชาวเมืองว่าบริเวณนี้ ขาดแคลนน้ำมาก มหาราชเทวีจึงอธิษฐานว่า ถ้าสถานที่นี้เป็นที่ประดิษฐาน พระธาตุแท้จริงขอให้มีน้ำ ผุดออกมาจากสะดือเมือง

แล้วมหาราชเทวีเสด็จไปเมืองตาน ยังมียายแก่ชื่อย่าลอน ไปเห็นบ่อน้ำที่สัตว์กลิ้งเกลือกเป็นหลุม เขี่ยดูเกิดเป็นสายน้ำพุ่งออกมา (คือน้ำบ่อเลี้ยงพระนางจามเทวี) จึงนำน้ำใส่ไหไปถวาย มหาราชเทวีที่เมืองตาน นางเถ้าแก่ชิมและว่าน้ำรสดี กว่าน้ำเจ็ดลินในเชียงใหม่ มหาราชเทวีจึงให้เสนาอำมาตย์

ไปเลือกที่นาแปลงหนึ่ง เรียกตูบนางเมือง มหาราชเทวีเสด็จมาที่ตูบแล้ว พระธาตุประจำปีนักษัตรฉลู แต่งเครื่องสักการะบูชาพระธาตุเป็นเวลา 7วัน 7คืน ถวายนาล้านเบี้ยกับพระธาตุ ให้ล่ามพันทอง กับนางดอกไม้พร้อมกัลปนาข้าคน 8 ครัวอยู่รักษาพระธาตุ กัลปนาข้าคนอีก 2 ครัวอยู่รักษาบ่อน้ำ

แล้วกลับเมืองเชียงใหม่ (ตำนานกล่าวว่าเป็นพระนางจามเทวี แต่ศักราชและบริบทเนื้อเรื่องตำนาน กลับเป็นยุคล้านนา ราชวงศ์มังราย แต่จะเป็นมหาเทวีองค์ใดต้องตรวจสอบต่อไป) พ.ศ.1992 หมื่นหาญแต่ท้อง เจ้าเมืองนครลำปาง พร้อมพระมหาเถรอัฏฐะทสี ขออาณาเขตพระธาตุ และวัดกับพระเจ้าติโลกราช

ตัดต้นขะจาวที่พระญาพลราชทรงปลูก พร้อมทั้งขุดกระดูกคนทั้ง 4 ออก แล้วจึงก่อพระเจดีย์ กว้าง 9วา สูง 15วา วัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางสวยงามด้วยสถาปัตยกรรม และสร้างรอยพระพุทธบาท (ปัจจุบันอยู่ในวิหารละโว้)

ด้านศิลปกรรม

วัดพระธาตุลำปางหลวง วัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางสวยงามด้วยสถาปัตยกรรม เป็นโบราณสถานสำคัญ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณซากเมืองโบราณ ลัมพกัปปะนคร ตามประวัติพระนางจามเทวี เคยเสด็จมานมัสการ และทำการบูรณะซ่อมแซมอยู่เสมอ นับว่าเป็นวัดสำคัญคู่บ้านคู่เมือง มาแต่โบราณกาล มีความสวยงาม

และมีความยอดเยี่ยมทั้ง สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม เป็นที่ประดิษฐาน พระแก้วดอนเต้า ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของ ชาวลำปาง และชาวพุทธทั่วไปประตูโขง เป็นฝีมือช่างหลวงโบราณ ที่สวยงามก่ออิฐถือปูนทำเป็น ซุ้มยอดแหลมเป็นชั้นๆมีสี่ทิศ ประดับตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น รูปดอกไม้

และสัตว์ในหิมพานต์ ประตูโขงแห่งนี้ใช้เป็นสัญลักษณ์ เมืองลำปางในตราจังหวัดลำปาง พระธาตุประจำปีนักษัตรฉลู วิหารหลวง เป็นวิหารประธานของวัด ตั้งอยู่บนแนวเดียวกับประตูโขง และองค์พระธาตุเจดีย์ เป็นวิหารจั่วรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทรงวิหารโล่งตามแบบล้านนายุคแรก หลังคาจั่วซ้อนกันเป็นชั้นๆ

ภายในวิหารบรรจุมณฑป พระเจ้าล้านทอง ด้านในของแนวคอสอง มีภาพเขียนสีโบราณเรื่องชาดก องค์พระธาตุเจดีย์ พระธาตุประจำปีนักษัตรฉลู เป็นเจดีย์ทรงล้านนา ก่ออิฐถือปูน ประกอบด้วยฐานสี่เหลี่ยมย่อมุม ด้วยบัวมาลัยสามชั้น เป็นเจดีย์ขนาดใหญ่หุ้มด้วย แผ่นทองเหลือง ฉลุลายหรือที่เรียกว่า ทองจังโก ตามตำนานกล่าวว่า เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เทศกาลตรุษจีน2566

วัดพระธาตุลำปางหลวงกับวิหารพระพุทธ

วิหารพระพุทธ สร้างขึ้นคู่กับวิหารน้ำแต้ม สันนิษฐานว่าเดิมคงเป็นวิหารโล่ง ได้มีการบูรณะซ่อมแซมภายหลัง ภายในวิหารประดิษฐาน พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง 40นิ้ว วัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางสวยงามด้วยสถาปัตยกรรม เป็นพระพุทธรูปที่มีลักษณะ และส่วนสัดที่งดงามมาก

วิหารพระพุทธเป็นวิหารทิศ ตามจักรวาลคติ มีองค์พระธาตุเจดีย์เป็นศูนย์กลาง สร้างขึ้นเป็นวิหารหลังแรก ของวัดในปีพ.ศ.2019 สมัยของพระเจ้าติโลกราช เดิมเป็นวิหารโถงมีฝาย้อย คอยกันแดดและฝน โครงสร้างภายในใช้วิธีการ รับน้ำหนักของเครื่องบน แบบขื่อม้าต่างไหมซึ่งเป็นแนวคิด ของช่างล้านนา

ไม่ปรากฏในพื้นที่อื่น และมีเสาหลวง 10ต้นแบ่งพื้นที่ภายในเป็น 5ห้องเมื่อมีการบูรณะในปีพ.ศ.2345 ได้มีการก่ออิฐขึ้นมาเป็นฝาปิดทึบ ตามแนวเดียวกับฝาย้อยและกั้น ปิดห้องแรกเพิ่มซุ้มประตูขึ้นมา วัดคู่บ้านคู่เมืองลำปางสวยงามด้วยสถาปัตยกรรม พระประธานในวิหารเป็น พระพุทธรูปปูนปั้นปิดทอง ปางมารวิชัย ศิลปะแบบสุโขทัย

ส่วนที่สวยงามที่สุดของ วิหารหลังนี้น่าจะเป็นลายคำ ที่ช่างสมัยนั้นบรรจงสร้างสรรค์ ตกแต่งวิหารให้สวยงาม มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น เป็นวิหารลายคำ 1 ใน 3 หลังของ วัดพระธาตุลำปางหลวง พระธาตุประจำปีนักษัตรฉลู

ลายคำที่เสาหลวงมีร่องรอย ของการบูรณะมาแล้ว ซึงน่าจะทำในคราวเดียวกับการกั้นฝาวิหาร และยังปรากฏเงาพระธาตุ กลับหัวภายในวิหารอีกด้วย ซึ่งบริเวณนี้ สามารถชมได้ทุกเพศทุกวัย