พระธาตุช่อแฮ วันนี้จะพามารู้จักกับ วัดเก่าแก่อยู่คู่จังหวัดแพร่ มาตั้งแต่โบราณ มาไหว้พระทำบุญ เพื่อเสริมสิริมงคลให้กับชีวิต
พระธาตุช่อแฮ วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง พระธาตุประจำคนเกิดปีขาล เป็นวัดศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง จังหวัดแพร่ และเป็นวัดพระธาตุประจำปีเกิดของ ผู้ที่เกิดปีขาล ตั้งอยู่เลขที่ 1 หมู่ที่11 ถนนช่อแฮ ตำบลช่อแฮ อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ บนเนื้อที่175ไร่ บุคคลใดที่มาเที่ยวจังหวัดแพร่แล้ว
จะต้องมานมัสการพระธาตุช่อแฮ เพื่อเป็นสิริมงคลกับตนเอง จนมีคำกล่าวว่าถ้ามาเที่ยวจังหวัดแพร่ แต่ไม่ได้มานมัสการพระธาตุช่อแฮ เหมือนไม่ได้มาจังหวัดแพร่ การเดินทางมาเที่ยววัดพระธาตุช่อแฮ ถนนสายหลักคือ ถนนช่อแฮ เริ่มตั้งแต่สี่แยกบ้านทุ่ง อำเภอเมืองแพร่
ซึ่งเป็นสี่แยกใจกลางเมืองแพร่ เข้าสู่ถนนช่อแฮ และตรงไปตามถนนช่อแฮ ผ่านโรงพยาบาลแพร่ สนามบินจังหวัดแพร่ หมู่บ้านเหล่า หมู่บ้านนาจักร หมู่บ้านแต (กวีรัตน์) หมู่บ้านมุ้ง สถานที่ตั้งของวัดพระธาตุช่อแฮ อยู่ในบริเวณเขตเทศบาลตำบลช่อแฮ ด้วยระยะทาง 9กิโลเมตร จากตัวเมืองจังหวัดแพร่
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกวัดพระธาตุช่อแฮ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองแพร่ ชนิดสามัญ ตั้งแต่วันที่ 23มิถุนายน พ.ศ.2549
โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับทั่วไป เล่ม123 ตอนที่96 ง วันที่ 19กันยายน พ.ศ.2549 (พ.ศ.2508 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้มวลสารจาก พระธาตุช่อแฮ ทำพระสมเด็จจิตรลดา) มังงะ
มาดูถึงประวัติของ พระธาตุช่อแฮ ว่ามีความเป็นมาอย่างไร? ไปดูพร้อมกันเลย
พระธาตุช่อแฮ พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองแพร่ ตั้งอยู่ภายในวัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง ตำบลช่อแฮ อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ อยู่บนเนินเขาสูงประมาณ 28เมตร กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียน เป็นโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่52 ตอนที่75 ลงวันที่ 8มีนาคม พ.ศ.2478
และได้ประกาศกำหนด ขอบเขตโบราณสถาน เล่มที่97 ตอนที่159 ลงวันที่ 14ตุลาคม 2523 เป็นเจดีย์บรรจุพระเกศา และพระบรมสารีริกธาตุพระศอกซ้าย ของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกทั้งยังเป็นปูชนียสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ คู่บ้านคู่เมืองของเมืองแพร่ มาแต่โบราณกาล
ตามตำนานกล่าวว่า ขุนลัวะอ้ายก๊อม เป็นผู้สร้าง ปรากฏหลักฐานการบูรณปฏิสังขรณ์ ระหว่างปี พ.ศ.1879-1881 ในสมัยพระมหาธรรมราชา (ลิไท) เมื่อครั้งยังทรงเป็นพระมหาอุปราช ครองเมืองศรีสัชนาลัย สำหรับชื่อพระธาตุช่อแฮ มีความเชื่อดั้งเดิมว่า ขุนลัวะอ้ายก๊อมได้นำผ้าแพร มาถวายพระพุทธเจ้า
และต่อมาชาวบ้านได้นำผ้าแพรชั้นดี ทอจากสิบสองปันนา มาผูกบูชาพระธาตุ คำว่าช่อแฮจึงหมายถึง “ช่อแพร” นั่นเอง ทั้งนี้ พระธาตุช่อแฮ ซึ่งพบว่าเขียนเป็นอักษรธรรมว่า “ช่อแฮ” และ “ช่อแร” อ่านว่า “ช่อแฮ” ทั้งสองอย่างนั้นมีความหมายว่า “ธงสามเหลี่ยมทำด้วยแพร”
ลักษณะองค์พระธาตุ พระธาตุประจำคนเกิดปีขาล เป็นเจดีย์ศิลปะเชียงแสน ทรงแปดเหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสอง บุด้วยทองดอกบวบหรือทองจังโก องค์พระธาตุสูง 33เมตร ฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ 11เมตร ตั้งอยู่บนฐานเขียงสี่เหลี่ยม 1ชั้น ถัดขึ้นไปเป็นฐานหน้ากระดานแปดเหลี่ยม 3ชั้นรองรับ
ถัดไปเป็นฐานบัวคว่ำ และชุดท้องไม้แปดเหลี่ยมซ้อน ลดชั้นกันขึ้นไป7ชั้น จากนั้นเป็นบัวระฆัง1ชั้น และหน้ากระดาน1ชั้น จนถึงองค์ระฆังแปดเหลี่ยม ถัดขึ้นไปเป็นบัลลังก์ย่อมุมไม้ สิบสองและปล้องไฉน ส่วนยอดฉัตรประดับตกแต่งด้วย เครื่องบนแบบล้านนา มีรั้วเหล็ก รอบองค์พระธาตุ4ทิศ
มีประตูเข้า-ออก 4 ประตู แต่ละประตูได้สร้างซุ้มแบบปราสาทล้านนา พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองแพร่ ไว้อย่างสวยงามโดยพระธาตุช่อแฮ เป็นพระธาตุประจำปีเกิดปีเสือ (ปีขาล) เชื่อกันว่าหากนำผ้าแพร 3สีไปถวายจะทำให้ชีวิตมีพลัง
คุ้มครองป้องกันศัตรูได้ พระธาตุประจำคนเกิดปีขาล มีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิต หน้าที่การงาน การสวดและไหว้ให้เริ่มต้นนะโม 3 จบ แล้วสวดตามด้วยคาถาบูชาพระธาตุ 5 จบ พลังบารมีจะดลบันดาลให้มีชีวิตที่ดีขึ้น
ประเพณีไหว้พระธาตุช่อแฮ ที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน
ประเพณีการไหว้พระธาตุช่อแฮ พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองแพร่ เป็นประเพณีที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาช้านาน เดิมจะจัด 5วัน 5คืน ในปี พ.ศ.2536 ได้เปลี่ยนแปลงเป็น 7วัน 7คืน วันแรกของงาน จะเริ่มขึ้นในวันขึ้น 9 ค่ำเดือน 6 เหนือ เดือน 4 ไต้ของทุกปีซึ่งถือว่าการจัดงาน ไหว้พระธาตุช่อแฮ
ยึดถือตามจันทรคติเป็นหลัก ประเพณีไหว้พระธาตุช่อแฮ เมืองแพร่ แห่ตุงหลวง ในการจัดงานมีขบวนแห่อันยิ่งใหญ่ ประกอบไปด้วยริ้วขบวนของทุกอำเภอ การฟ้อนรำ ขบวนช้างเจ้าหลวง และเครื่องบรรณาการ ขบวนแห่ กังสดาล ขบวนแห่หมากเป็ง ขบวนต้นผึ้ง ขบวนแห่ผ้าห่มองค์พระธาตุ 12ราศี
ซึ่งประกอบด้วยขบวนตุง 12ราศรี พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองแพร่ ขบวนข้าวตอกดอกไม้ ต้นหมาก ต้นผึ้ง ต้นดอก ขบวนแห่ผ้าห่มองค์พระธาตุ12ราศรี ขบวนกังสดาล ขบวนตุง ขบวนฟ้อนรำ มีการเทศน์ และมีการเทศน์และฟังเทศน์มหาชาติ มหาเวสสันดรชาดก ทั้งกลางวันและกลางคืน สำหรับกลางคืนมีมหรสพสมโภช ตลอดงาน
ที่มาของประเพณีไหว้พระธาตุช่อแฮ หลังจากพระยาลิไท ได้บูรณปฏิสังขรณ์ วัดพระธาตุช่อแฮแล้ว ได้โปรดให้มีงานฉลองสมโภช 5วัน 5คืน ระหว่างวันขึ้น 11 ค่ำ ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 เหนือ เดือน 4 ใต้
ซึ่งอยู่ระหว่างในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ต้นเดือนมีนาคมของทุกปี นับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา เจ้าผู้ครองนครแพร่ทุกองค์ จึงได้ยึดถือประเพณีไหว้ พระธาตุประจำปี พระธาตุประจำคนเกิดปีขาล สืบมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
ในด้านลักษณะสถาปัตยกรรม
วัดพระธาตุช่อแฮ พระอารามหลวง พระธาตุประจำคนเกิดปีขาล เป็นวัดที่ตั้งอยู่เนินเขาเตี้ย สูงประมาณ 28เมตร องค์พระธาตุช่อแฮเป็น เจดีย์ศิลปะล้านนา ทรงแปดเหลี่ยม บุด้วยทองดอกบวบหรือทองจังโก องค์พระธาตุสูง 33เมตร ฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ 11เมตร
ลักษณะองค์พระธาตุตั้งอยู่ บนฐานเขียงสี่เหลี่ยม1ชั้น พระธาตุประจำคนเกิดปีขาล ถัดขึ้นไปเป็นฐานหน้ากระดานแปดเหลี่ยม 3ชั้นรองรับ ถัดไปเป็นฐานบัวคว่ำ และชุดท้องไม้แปดเหลี่ยม ซ้อนลดชั้นกันขึ้นไป 7ชั้น จากนั้นเป็นบัวระฆัง1ชั้น
และหน้ากระดานหนึ่งชั้น จนถึงองค์ระฆังแปดเหลี่ยม พระธาตุศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองแพร่ ถัดขึ้นไปเป็นบัลลังก์ย่อมุมไม้สิบสอง และปล้องไฉน ส่วนยอดฉัตร ประดับตกแต่งด้วย เครื่องบนแบบล้านนา มีรั้วเหล็กรอบองค์พระธาตุ 4ทิศ มีประตูเข้าออก 4ประตู แต่ละประตูได้สร้างซุ้มแบบปราสาทล้านนา ไว้อย่างสวยงาม มหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า