พระธาตุชเวดากอง เป็นมหาเจดีย์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุด ของพม่ามีชื่อเสียงแพร่หลาย เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก

พระธาตุชเวดากอง วันนี้จะพามาทำความรู้จัก แลนด์มาร์คและวัดคู่บ้านคู่เมือง สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของชาวพม่าทั้งประเทศ

พระธาตุชเวดากอง พระธาตุประจำคนเกิดปีมะเมีย ตั้งอยู่บริเวณเนินเขาสิงคุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า โดยคำว่า “ชเว” หมายถึง ทอง, “ดากอง”(แผลงเป็นภาษามอญเรียกชื่อว่า ตะเกิง) คือชื่อดั้งเดิมของเมืองย่างกุ้ง เชื่อกันว่าเป็นมหาเจดีย์ที่บรรจุ พระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้าจำนวน 8 เส้น

ยอดสุดขององค์เจดีย์บริเวณลูกแก้ว มหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า หรือหยาดน้ำค้างประดับด้วย เครื่องประดับต่างๆและเพชร 5,448เม็ด ชั้นบนสุดมีทับทิม 2,317เม็ด และเพชรเม็ดใหญ่ 76กะรัต เพื่อรับลำแสงแรกและลำแสงสุดท้าย ของดวงอาทิตย์ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชม จะต้องถอดรองเท้าทุกครั้ง โหลดเกมส์

พระธาตุชเวดากอง

มาดูถึงประวัติของ พระธาตุชเวดากอง ว่ามีความเป็นมาอย่างไร? มาดูไปพร้อมๆกันเลย

ตามตำนาน พระธาตุชเวดากอง มหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า นั้นสร้างเมื่อ2,500ปีที่แล้ว แต่นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดี เชื่อกันว่าสร้างระหว่างคริสต์ศตวรรษที่6–10 โดยชาวมอญ ตามตำนานนั้น กล่าวว่ามีพี่น้องพ่อค้า2คน คือ ตปุสสะและภัลลิกะ จากตอนเหนือของเนินเขาสิงคุตระ

ได้ไปเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า พระองค์จึงประทานพระเกศา ให้พ่อค้าทั้งสองมา8เส้น พ่อค้าทั้งสองกลับมายังพม่า และได้ความช่วยเหลือจาก ผู้ปกครองท้องถิ่น พระราชาโอะกะลาปะ ในการประดิษฐานพระเกศาธาตุ บริเวณเนินเขาสิงคุตระ องค์เจดีย์ได้ถูกทิ้งร้างทรุดโทรม จนมาถึงคริสต์ศตวรรษที่14

พระยาอู่ (ค.ศ.1323–1384) ได้ทรงบูรณะเจดีย์ให้มีความสูง18เมตร (59ฟุต) ศตวรรษต่อมาพระนางเชงสอบู (ค.ศ.1453–1472) ได้ทรงบูรณะเจดีย์ให้มี ความสูงถึง40เมตร (131ฟุต) ได้ทำการปรับเปลี่ยนเนิน ซึ่งเป็นที่ตั้งขององค์เจดีย์ให้เป็น ฐานเจดีย์ลาดเป็นชั้นๆแบบขั้นบันได

และปูพื้นด้านบนของฐานด้วยแผ่นหิน พระนางรับสั่งให้มีการบำรุงรักษา องค์เจดีย์ต่อไปแก่พระเจ้าธรรมเจดีย์ ซึ่งครองราชสมบัติต่อหลัง พระนางสละราชสมบัติ ในช่วงบั้นปลาย พระชนม์ชีพพระนางประชวร และมีพระบัญชาให้วางแท่นบรรทม ในจุดที่พระองค์สามารถมองเห็น เจดีย์ได้ทุกเวลา

มีการจารึกภาษามอญ บันทึกการบูรณะปฏิสังขรณ์ องค์เจดีย์ที่เริ่มต้นในปีค.ศ.1436 พระธาตุประจำคนเกิดปีมะเมีย จนบูรณะเสร็จสิ้นในรัชสมัยพระเจ้าธรรมเจดีย์ เมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่16 ต่อมาเจดีย์ชเวดากอง ได้กลายเป็นสถานที่แสวงบุญของ พุทธศาสนิกชนที่มีชื่อเสียงที่สุดในพม่า แผ่นดินไหวเล็กๆ น้อยๆ เรื่อยมาทำให้เจดีย์ได้รับ

ความเสียหายและเมื่อปีค.ศ.1768 ได้เกิดแผ่นดินไหวอย่างหนัก ทำให้ยอดของเจดีย์หักถล่มลงมา แต่ได้มีการบูรณะให้สูงขึ้น ถึง99เมตร (325ฟุต) ฉัตรองค์ใหม่สำหรับ ประดับยอดเจดีย์ได้รับการถวายจาก พระเจ้ามินดง เมื่อปีค.ศ.1871 หลังการผนวกดินแดนพม่า ตอนล่างโดยอังกฤษ

แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรง ปานกลางในเดือนตุลาคม ปีค.ศ.1970 ทำให้เพลาฉัตรบนยอดองค์เจดีย์ ได้รับความเสียหายมีการสร้างโครง และซ่อมแซมครั้งใหญ่ เมื่อวันที่22กุมภาพันธ์ –7มีนาคมค.ศ.2012 มีเทศกาลเฉลิมฉลองประจำปี ของเจดีย์ชเวดากองเป็นครั้งแรก นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1988

หลังถูกห้ามโดยสภาสันติภาพ และการพัฒนาแห่งรัฐ ที่ปกครองประเทศในขณะนั้น เทศกาลเจดีย์ชเวดากอง พระธาตุประจำคนเกิดปีมะเมีย เป็นเทศกาลเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ เริ่มต้นตั้งแต่วันขึ้น1ค่ำ เดือนดะบ้อง ไปจนถึงวันขึ้น15ค่ำ ตามปฏิทินพม่า พระธาตุประจำคนเกิดปีมะแม

พระธาตุชเวดากอง

รูปแบบสถาปัตยกรรมพระธาตุชเวดากอง และองค์ประกอบ

พระธาตุชเวดากอง มหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า ฐานเจดีย์เป็นแบบสี่เหลี่ยมยกเก็จสามชั้น ด้านบนฐานมีเพียงพระภิกษุ และผู้ชายเท่านั้นที่สามารถขึ้นได้ ถัดมาเป็นชั้นฐานแปดเหลี่ยมยกเก็จ ต่อมาเป็นชั้นฐานเขียงกลม

ถัดไปด้านบนคือส่วนองค์ระฆัง, รัดอกคาดองค์ระฆัง, บัวคอเสื้อลายเฟื่องอุบะ, ปล้องไฉน, ปัทมบาท, ปลียาว, ฉัตร, ธงใบพัด และลูกแก้ว หรือหยาดน้ำค้าง ประกอบด้วยเพชร 5,448เม็ดและทับทิม 2,317เม็ด บนสุดเป็นเพชรปลายแหลมหนัก 76กะรัต

แผ่นทองที่ใช้ปิดโครงสร้าง อิฐถูกยึดด้วยหมุดแบบดั้งเดิม ประชาชนทั่วประเทศได้บริจาค เงินทองเพื่อบูรณะเจดีย์ การปฏิบัติยังคงมีมาจนถึงทุกวันนี้ หลังจากพระนางเชงสอบู ได้บริจาคทองคำเท่าน้ำหนัก ของพระองค์ในการบูรณะเจดีย์ มีบันไดทางขึ้นไปยังลานเนินเขา สิงคุตระสี่ทาง

ในแต่ละทางขึ้นมีรูปปั้น คล้ายสิงโตมีชื่อเรียกว่าชินเต ประดับไว้เป็นคู่หน้าทางขึ้นเพื่อ ปกปักรักษาองค์เจดีย์ตามความเชื่อ ทางทิศตะวันออก และทางใต้มีร้านขายธูปเทียน ทองคำเปลว หนังสือ และวัตถุมงคลต่างๆ ผู้ที่เข้ามานมัสการหรือเยี่ยมชม มักนิยมเดินตามเข็มนาฬิกาวนรอบเจดีย์

เริ่มต้นที่ศาลทางทิศตะวันออก มหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า ซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปพระกกุสันธพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าพระองค์แรก ในภัทรกัปนี้ถัดไปเป็นศาลทางทิศใต้ ซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปพระโกนาคมนพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าองค์ที่สองในภัทรกัปนี้

ถัดไปศาลทางทิศตะวันตก พระธาตุประจำคนเกิดปีมะเมีย เป็นศาลของพระกัสสปพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าองค์ที่สามในภัทรกัปนี้ สุดท้ายศาลทางทิศเหนือ เป็นศาลของพระโคตมพุทธเจ้า พระพุทธเจ้า องค์ปัจจุบัน

ทางด้านพิธีกรรม

ประชาชนชาวพม่าส่วนใหญ่ พระธาตุประจำคนเกิดปีมะเมีย นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาท แต่บางส่วนก็ยังมีความเชื่อ ในทางโหราศาสตร์ เช่นโหราศาสตร์พม่าที่เกี่ยวข้องกับ ดวงดาว7ดวงได้แก่ ดวงอาทิตย์, ดวงจันทร์, ดาวอังคาร, ดาวพุธ, ดาวพฤหัสบดี, ดาวศุกร์และดาวเสาร์

นอกจากนี้ยังตระหนักถึง ดาวอีกสองดวงคือราหูและเกตุ ความเชื่อเรื่องดวงดาวล้วนได้ รับอิทธิพลมาจากโหราศาสตร์ฮินดู แต่ดาวราหูและเกตุของโหราศาสตร์พม่า ต่างจากดาวราหูและเกตุของฮินดู โดยโหราศาสตร์พม่าพิจารณา ให้เป็นดวงดาวที่แตกต่างและแยกกัน

ในขณะที่โหราศาสตร์ฮินดู พิจารณาว่าเป็นหัวและหางของนาค หรือเป็นจุดขึ้นและลง ส่วนในโหราศาสตร์พม่าดาวเกตุ เป็นราชาของดวงดาวทั้งมวล เช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ อีกมากมายชาวพม่าตั้งชื่อ วันทั้งเจ็ดในสัปดาห์ตามดวงดาว ทั้งเจ็ดดวงแต่โหราศาสตร์ ของพม่ามีการแบ่งสัปดาห์เป็น

แปดวันโดยแบ่งวันพุธเป็นสองวัน คือเที่ยงคืนจนถึง 18:00น. เป็นวันพุธแต่หลังเวลา 18.00น. จนถึงเวลาเที่ยงคืนเป็นวันของราหู เป็นสิ่งสำคัญสำหรับชาวพม่า ที่จะต้องรู้ว่าวันเกิดของตน ได้รับอิทธิพลจากดาวเคราะห์ดวงใด นองจากนี้ยังมีการกำหนด สัญลักษณ์ของรูปสัตว์ต่างๆ แทนในแต่ละวัน

เช่น ครุฑสำหรับวันอาทิตย์, เสือสำหรับวันจันทร์, สิงโตสำหรับวันอังคาร, ช้างมีงาสำหรับวันพุธครึ่งวันแรก, ช้างไม่มีงาสำหรับวันพุธครึ่งวันหลัง, หนูสำหรับวันพฤหัสบดี, หนูตะเภาสำหรับวันศุกร์ และนาคสำหรับวันเสาร์ สัญลักษณ์ของวันต่างๆ กระจายไปรอบองค์เจดีย์แต่ละจุด

จะมีพระพุทธรูปประดิษฐานไว้ ผู้ศรัทธามักนำดอกไม้ ธงต่างๆ ไปบูชาและทรงน้ำพระ พร้อมคำอธิษฐานและความปรารถนา ด้านหลังองค์พระเป็นรูปปั้นของเทวดาผู้พิทักษ์ และด้านล่างจะเป็นสัตว์ที่เป็น ตัวแทนในแต่ละวัน ชาวพุทธมักนิยมเดินสำรวจ เวียนรอบฐานเจดีย์ตามเข็มนาฬิกา

ผู้แสวงบุญและผู้ศรัทธา มักซื้อดอกไม้ธูปเทียนธงสีและธงริ้วต่างๆ ตามทางขึ้นมานมัสการ และไว้รอบเจดีย์ มีกล่องบริจาคอยู่ในสถานที่ต่างๆ รอบองค์เจดีย์ เพื่อมอบให้ โดยสมัครใจซึ่งอาจมอบให้เจดีย์ เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป

สิ่งเหล่านี้เป็นสัญลักษณ์ มหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า ของการให้ทานอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญในคำสอน ของศาสนาพุทธ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 ชาวต่างชาติจะถูกเรียกเก็บ ค่าธรรมเนียมแรกเข้า10,000จัต (ประมาณ7ดอลลาร์สหรัฐ)

พระธาตุชเวดากองกับสิ่งก่อสร้าง ที่มีการระบุชัดเจนว่าสร้างจำลอง มาจากเจดีย์ชเวดากอง

  • อุปปาตสันติเจดีย์ ซึ่งตั้งอยู่ในเมืองเนปยีดอ เมืองหลวงของประเทศพม่า มหาเจดีย์ที่บรรจุพระเกศาธาตุของพระโคตมพุทธเจ้า เป็นเจดีย์ที่จำลองมาจากเจดีย์ชเวดากองสร้างเสร็จสมบูรณ์ในปี ค.ศ.2009 โดยมีรูปแบบลักษณะที่คล้ายคลึงกัน แต่มีความสูงน้อยกว่าเจดีย์ชเวดากองเล็กน้อย
  • เจดีย์ชเวดากองจำลอง ขนาด46.8เมตร (154ฟุต) ณ อุทยานลุมพินี ในเมืองเบอรัซตากี จังหวัดสุมาตราเหนือ ประเทศอินโดนีเซีย สร้างเสร็จในปี ค.ศ.2010 วัสดุก่อสร้างของเจดีย์นี้ถูกนำเข้ามาจากประเทศพม่า
  • เจดีย์วิปัสสนาสากล สูง29เมตร (95ฟุต) เปิดเมื่อ ค.ศ.2010 ณ เมืองมุมไบ, ประเทศอินเดีย
  • เจดีย์ชเวดากองจำลองไทย-พม่า หรือ เจดีย์ชเวดากองคลองแห พระธาตุประจำคนเกิดปีมะเมีย ขนาดกว้าง20เมตร สูง17เมตร เป็นเจดีย์องค์แรกที่ชาวพม่าสร้างขึ้นในประเทศไทย เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของชาวพม่า ที่เข้ามาประกอบอาชีพในประเทศไทย โดยเป็นการผสมผสานระหว่าง ศิลปะพม่าและไทย ณ วัดคลองแห อำเภอหาดใหญ่, จังหวัดสงขลา, ประเทศไทย